Smile Siam มาร่วมกันคืน "สยามเมืองยิ้ม" กลับสู่บ้านเรากันนะครับ ...
User Info
Welcome, Guest. Please login or register.
28 April 2024, 23:49:16

Login with username, password and session length
Search:     Advanced search
News
ท่านสมาชิกสามารถเปลี่ยนรูปแบบ (Theme) ได้อีกหลายแบบ
เชิญทดลองโดยคลิกที่ลิงค์ข้างล่าง ได้เลยครับ

http://www.smilesiam.net/index.php/topic,3170.msg4713.html
Forum Stats
25,611 Posts in 12,442 Topics by 70 Members
Latest Member: KAN
Home Help Search Calendar Login Register
Smile Siam มาร่วมกันคืน "สยามเมืองยิ้ม" กลับสู่บ้านเรากันนะครับ ...  |  เหนือเกล้าชาวสยาม  |  พระสัมมาสัมพุทธเจ้าและเหล่าอริยสาวก  |  พุทธประวัติจากพระโอษฐ์  |  ลำดับเรื่องในพุทธประวัติจากพระโอษฐ์ (โดยละเอียด)
0 Members and 1 Guest are viewing this topic. « previous next »
Pages: [1] Go Down Print
Author Topic: ลำดับเรื่องในพุทธประวัติจากพระโอษฐ์ (โดยละเอียด)  (Read 1753 times)
SATORI
สมาชิกกิตติคุณ
น้องใหม่ฝึกยิ้ม
*****
Offline Offline

Posts: 37


View Profile
« on: 26 December 2012, 23:13:36 »


      

ใจความสำคัญ

เป็นพระประวัติตรัสเล่า ไม่มีคำเรียบเรียงของผู้แต่งคละปน
เพราะเป็นที่รวบรวมเฉพาะพระพุทธภาษิตที่ตรัสถึงประวัติของพระองค์เอง.
จากคัมภีร์พระไตรปิฎกล้วน เลือกเก็บเอามาร้อยกรองให้เป็นหมวดหมู่ ติดต่อกันเป็นลำดับ,
มุ่งแสดงหลักธรรมที่แนบอยู่ในพระชนม์ชีพของพระองค์ แทนการมุ่งทางตำนานประวัติ
หรือนิยายประวัติ เพื่อให้เป็นหนังสือส่งเสริมปฏิบัติธรรมเล่มหนึ่ง เป็นส่วนใหญ่
รวมทั้งเป็นแก่นแห่งเรื่องพุทธประวัติด้วย, เป็นส่วนพิเศษ.

– ผู้รวบรวม (พุทธทาสภิกขุ)


(โดยละเอียด)

อักษรย่อชื่อคัมภีร์ | วิธีใช้หนังสือเล่มนี้

ภาคนำ

ข้อความให้เกิดความสนใจในพุทธประวัติ (๑๒ เรื่อง)


โลกธาตุหนึ่ง ๆ มีพระพุทธเจ้าเพียงองค์เดียว (พ.ม.)
การปรากฏของพระตถาคตมีได้ยากในโลก (พ.ม.อ.)
โลกที่กำลังมัวเมา ก็ยังสนใจในธรรมของพระตถาคต (พ.ม.)
การมีธรรมของพระตถาคตอยู่ในโลก คือความสุขของโลก (พ.ม.)
พระตถาคตเกิดขึ้นเพื่อความสุขของโลก (พ.ม.)
พระตถาคตเกิดขึ้นในโลก เพื่อแสดงแบบแห่งการครองชีวิตอันประเสริฐแก่โลก (พ.ม.)
พระตถาคตเกิดขึ้น แสดงธรรมเพื่อความรำงับ, ดับ, รู้ (พ.ม.)
ธรรมชาติ ๓ อย่าง ทำให้พระองค์เกิดขึ้นเป็นประทีปของโลก (พ.ม.ส.)
ผู้เชื่อฟังพระตถาคต จะได้รับประโยชน์สุขสิ้นกาลนาน (พ.ม.)
ทรงขนานนามพระองค์เองว่า "พุทธ"
เรื่องย่อ ๆ ที่ควรทราบก่อน
เรื่องสั้น ๆ ที่ควรทราบก่อน (อีกหมวดหนึ่ง)
(พ.ม.อ.)

ภาค ๑

เริ่มแต่การเกิดแห่งสากยวงศ์ จนถึงออกผนวช (๒๑ เรื่อง)

การเกิดแห่งวงศ์สากยะ
พวกสากยะอยู่ใต้อำนาจพระเจ้าโกศล
แดนสากยะขึ้นอยู่ในแคว้นโกศล
การอยู่ในหมู่เทพชั้นดุสิต (พ.ม.)
การเกิดในดุสิต
การดำรงอยู่ในดุสิต
การดำรงอยู่ตลอดอายุในดุสิต
การจุติจากดุสิตลงสู่ครรภ์ (พ.ม.)
เกิดแสงสว่างเนื่องด้วยการจุติจากดุสิต (พ.ม.)
แผ่นดินไหวเนื่องด้วยการจุติ (พ.ม.)
การลงสู่ครรภ์ (พ.ม.)
การอยู่ในครรภ์ (พ.ม.)
มารดามีศีล
มารดาไม่มีจิตในทางกามารมณ์
มารดามีลาภ
มารดาไม่มีโรค, เห็นโพธิสัตว์
มารดาอุ้มครรภ์เต็มสิบเดือน
การประสูติ (พ.ม.)
ยืนคลอด
เทวดารับก่อน
เทพบุตรทั้งสี่รับมาถวาย
ไม่เปื้อนมลทินครรภ์
ท่อธารจากอากาศ
การเปล่งอาสภิวาจา
เกิดแสงสว่างเนื่องด้วยการประสูติ (พ.ม.)
แผ่นดินไหวเนื่องด้วยการประสูติ (พ.ม.)
ประกอบด้วยมหาปุริสลักขณะ ๓๒
บุรพกรรมของการได้มหาปุริสลักขณะ
ประสูติได้ ๗ วัน พระชนนีทิวงคต
ทรงได้รับการบำเรอในราชสำนัก
กามสุข กับ ความหน่าย
ทรงหลงกาม และ หลุดจากกาม
ความรู้สึกที่ถึงกับทำให้ออกผนวช (พ.ม.)
การออกผนวช
ออกผนวชเมื่อพระชนม์ ๒๙
ภาค ๒

เริ่มแต่ออกผนวชแล้ว จนถึง ได้ตรัสรู้ (๓๕ เรื่อง)

เสด็จไปสำนักอาฬารดาบส
เสด็จไปสำนักอุทกดาบส
เสด็จไปอุรุเวลาเสนานิคม
ทรงประพฤติอัตตกิลมถานุโยค
อุปมาปรากฏแจ่มแจ้ง
ทุกรกิริยา
ทรงแน่พระทัยว่า ไม่อาจตรัสรู้เพราะการทำทุกรกิริยา (พ.ม.ส.)
ทรงกลับพระทัยฉันอาหารหยาบ
ภิกษุปัญจวัคคีย์หลีก
ทรงตริตรึกเพื่อตรัสรู้ ก่อนตรัสรู้
ทรงเที่ยวแสวงเพื่อความตรัสรู้ ก่อนตรัสรู้
ทรงคอยควบคุมวิตก ก่อนตรัสรู้
ทรงกำหนดสามาธินิมิต ก่อนตรัสรู้
ทรงคอยกั้นจิตจากกามคุณในอดีต ก่อนตรัสรู้
ทรงคิดค้นวิธีแห่งอิทธิบาท ก่อนตรัสรู้
ทรงคิดค้นเรื่องเบญจขันธ์ ฯลฯ ก่อนตรัสรู้
ทรงคิดค้นเรื่องเวทนาโดยละเอียด ก่อนตรัสรู้ (พ.ม.ส.)
ทรงแสวงเนื่องด้วยเบญจขันธ์ ฯลฯ ก่อนตรัสรู้
ทรงค้นลูกโซ่แห่งทุกข์ ก่อนตรัสรู้
ทรงค้นลูกโซ่แห่งทุกข์ (อีกนัยหนึ่ง) ก่อนตรัสรู้ (พ.ม.ส.)
ทรงพยายามในอธิเทวญาณทัศนะเป็นขั้นๆ ก่อนตรัสรู้
ทรงทำลายความขลาด ก่อนตรัสรู้
ธรรมที่ทรงอบรมอย่างมากก่อนตรัสรู้
วิหารธรรมที่ทรงอยู่มากที่สุดก่อนตรัสรู้ (พ.ม.)
ทรงพยายามในเนกขัมมจิต และอนุปุพพวิหารสมาบัติก่อนตรัสรู้ (พ.ม.อ.)
ทรงอธิษฐานความเพียรก่อนตรัสรู้
ความฝันครั้งสำคัญก่อนตรัสรู้
อาการแห่งการตรัสรู้
สิ่งที่ตรัสรู้
การตรัสรู้ คือการทับรอยแห่งพระพุทธเจ้าในอดีต (พ.ม.ส.)
การตรัสรู้ คือการทรงรู้แจ้งผัสสายตนะโดยอาการห้า (พ.ม.ส.)
เกิดแสงสว่างเนื่องด้วยการตรัสรู้
แผ่นดินไหวเนื่องด้วยการตรัสรู้ (พ.ม.)
การรู้สึกพระองค์ว่าได้ตรัสรู้แล้ว
วิหารธรรมที่ทรงอยู่ เมื่อตรัสรู้แล้วใหม่ ๆ (พ.ม.ส.)

ภาค ๓

เริ่มแต่ได้ตรัสรู้แล้ว จนถึง โปรดปัญจวัคคีย์ (๗๙ เรื่อง)

ทรงเป็นลูกไก่ตัวพี่ที่สุด
ทรงเป็นผู้ข่มอินทรีย์ได้
ทรงมีตถาคตพลญาณ สิบ
ทรงมีตถาคตพล ห้า (พ.ม.ส.)
ทรงทราบอินทรีย์อันยิ่งหย่อนของสัตว์ (พ.ม.ส.)
ทรงมีและทรงแสดงยถาภูตญาณที่ทำให้แจ้งอธิมุตติบท ท. (พ.ม.ส.)
ทรงมีเวสารัชชญาณ สี่
ทรงประกาศพรหมจักรท่ามกลางบริษัท (พ.ม.ส.)
ทรงมีวิธี "รุก" ข้าศึกให้แพ้ภัยตัว (พ.ม.)
ทรงมีธรรมสีหนาทที่ทำเทวโลกให้สั่นสะเทือน
ทรงเปรียบการกระทำของพระองค์ ด้วยการกระทำของสีหะ (พ.ม.ส.)
ทรงมีธรรมสีหนาทอย่างองอาจ
สิ่งที่ใคร ๆ ไม่อาจท้วงติงได้
ไม่มีความลับ ที่ต้องให้ใครช่วยปกปิด (พ.ม.)
ทรงแสดงสิ่งที่น่าอัศจรรย์อันแท้จริงของพระองค์ (พ.ม.ส.)
ทรงเป็นอัจฉริยมนุษย์ในโลก (พ.ม.)
ทรงต่างจากมนุษย์ธรรมดา
ทรงบังคับใจได้เด็ดขาด
ไม่ทรงติดแม้ในนิพพาน (พ.ม.)
ทรงมีความคงที่ต่อวิสัยโลก ไม่มีใครยิ่งกว่า (พ.ม.)
ทรงอยู่เหนือการครอบงำของเวทนา มาตั้งแต่ออกผนวชจนตรัสรู้ (พ.ม.ส.)
ทรงยืนยันในคุณธรรมของพระองค์เองได้
ทรงยืนยันให้ทดสอบความเป็นสัมมาสัมพุทธะของพระองค์ (พ.ม.ส.)
ทรงยืนยันว่าไม่ได้บริสุทธิ์เพราะตบะอื่น นอกจากอริยมรรค (พ.ม.ส.)
ทรงยืนยันพรหมจรรย์ของพระองค์ว่าบริสุทธิ์เต็มที่ (พ.ม.)
ทรงยืนยันว่าตรัสเฉพาะเรื่องที่ทรงแจ่มแจ้งแทงตลอดแล้วเท่านั้น (พ.ม.ส.)
สิ่งที่ไม่ต้องทรงรักษาอีกต่อไป
ทรงฉลาดในเรื่องซึ่งพ้นวิสัยโลก (พ.ม.)
ทรงทราบ ทรงเปิดเผย แต่ไม่ทรงติด ซึ่งโลกธรรม (พ.ม.ส.)
ทรงทราบทิฏธิวัตถุ ที่ลึกซึ้ง หกสิบสอง
ทรงทราบส่วนสุดและมัชฌิมา
ทรงรับรองสุขัลลิกานุโยคที่เป็นไปเพื่อนิพพาน ของพวกสมณศากยปุตติยะ (พ.ม.ส.)
ทรงทราบพราหมณสัจจ์ (พ.ม.)
ทรงเห็นนรกและสวรรค์ ที่ผัสสายตนะหก (พ.ม.ส.)
ทรงทราบพรหมโลก
ทรงทราบคติห้า และนิพพาน
ทรงแสดงฤทธิ์ได้ เพราะอิทธิบาทสี่
ทรงมีญาณในอิทธิบาทสี่ โดยปริวัฏฏ์ ๓ อาการ ๑๒ (พ.ม.ส.)
ทรงมีอิทธิบาทเพื่ออยู่ได้ถึงกัปป์ (พ.ม.)
ทรงเปล่งเสียงคราวเดียว ได้ยินตลอดทุกโลกธาตุ (พ.ม.)
ทรงมีปาฏิหาริย์ชนิดที่คนเขลามองไม่เห็นว่าเป็นปาฏิหาริย์ (พ.ม.ส.)
ทรงมีปาฏิหาริย์ สาม
เหตุที่ทำให้ทรงพระนามว่า "ตถาคต" สี่
เหตุที่ทำให้ทรงพระนามว่า "ตถาคต" เพราะทรงเป็นกาลวาที ภูตวาที (พ.ม.ส.)
ไวพจน์แห่งคำว่า "ตถาคต" (พ.ม.ส.)
ทรงปฏิญญาเป็นอภิสัมพุทธะ เมื่อทรงชำนาญในอนุปุพพวิหารสมาบัติ (พ.ม.อ.)
ทรงปฏิญญาเป็นอภิสัมพุทธะ เมื่อทรงทราบปัญจุปาทานขันธ์โดยปริวัฏฏ์สี่ (พ.ม.ส.)
ทรงปฏิญญาเป็นอภิสัมพุทธะ เมื่อทรงทราบอริยสัจจ์หมดจดสิ้นเชิง
เหตุที่ทำให้ได้พระนามว่า "อรหันตสัมมาสัมพุทธะ" (พ.ม.ส.)
เหตุที่ทำให้ได้พระนามว่า "อรหันตสัมมาสัมพุทธะ" (อีกนัยหนึ่ง) (พ.ม.ส.)
เหตุที่ทำให้ได้พระนามว่า "อรหันตสัมมาสัมพุทธะ" (อีกนัยหนึ่ง) (พ.ม.ส.)
เหตุที่ทำให้ได้พระนามว่า "อนุตตรปุริสทัมมสารถิ" (พ.ม.ส.)
เหตุที่ทำให้ได้พระนามว่า "โยคักเขมี" (พ.ม.ส.)
ทรงเป็นศาสดาประเภทตรัสรู้เอง (พ.ม.ส.)
ไม่ทรงเป็นสัพพัญญูทุกอิริยาบถ
ทรงยืนยันความเป็นมหาบุรุษ (พ.ม.)
ทรงอยู่ในฐานะที่ใครๆ ยอมรับว่าเลิศกว่าสรรพสัตว์ (พ.ม.ส.)
ไม่มีใครเปรียบเสมอ (พ.ม.)
ไม่ทรงอภิวาทผู้ใด
ทรงเป็นธรรมราชา (พ.ม.)
ทรงเป็นธรรมราชาที่เคารพธรรม
ทรงคิดหาที่พึ่งสำหรับพระองค์เอง
ทรงถูกพวกพราหมณ์ตัดพ้อ
มารทูลให้นิพพาน
ทรงท้อพระทัยในการแสดงธรรม
พรหมอาราธนา
ทรงเห็นสัตว์ดุจดอกบัว ๓ เหล่า
ทรงแสดงธรรมเพราะเห็นความจำเป็นของสัตว์บางพวก (พ.ม.)
ทรงเห็นลู่ทางที่จะช่วยเหลือปวงสัตว์
ทรงระลึกหาผู้รับปฐมเทศนา
เสด็จพาราณสี-พบอุปกาชีวก
การแสดงปฐมเทศนา
ทรงประกาศธรรมจักรที่อิสิปตนมฤคทายวัน
แผ่นดินไหวเนื่องด้วยการแสดงธรรมจักร (พ.ม.)
เกิดแสงสว่างเนื่องด้วยการแสดงธรรมจักร
จักรของพระองค์ไม่มีใครต้านทานได้ (พ.ม.)
ทรงหมุนแต่จักรที่มีธรรมราชา เป็นเจ้าของ (พ.ม.)
การปรากฏของพระองค์คือการปรากฏแห่งดวงตาอันใหญ่หลวงของโลก (พ.ม.)
โลกยังไม่มีแสงสว่าง จนกว่าพระองค์จะเกิดขึ้น (พ.ม.ส.)

ภาค ๔

เริ่มแต่โปรดปัญจวัคคีย์แล้ว จนถึง จวนจะปรินิพพาน (๑๗๐ เรื่อง)

ก. เกี่ยวกับการประกาศพระศาสนา ๔๘ เรื่อง คือ :-

การประกาศพระศาสนา
หลักที่ทรงใช้ในการตรัส
ทรงมีหลักเกณฑ์ในการกล่าวผิดจากหลักเกณฑ์ของคนทั่วไป(พ.ม.ส.)
อาการที่ทรงแสดงธรรม
สมาธินิมิตในขณะที่ทรงแสดงธรรม(พ.ม.ส.)
ทรงแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม่แล่นดิ่งไปสุดโต่ง
: เกี่ยวกับ "กามสุขัลลิกานุโยค" หรือ "อัตตกิลมถานุโยค"(พ.ม.ส.)
: เกี่ยวกับ "มี" หรือ "ไม่มี"(พ.ม.ส.)
: เกี่ยวกับ "ผู้นั้น" หรือ "ผู้อื่น"(พ.ม.ส.)
: เกี่ยวกับ "ทำเอง" หรือ "ผู้อื่นทำ"(พ.ม.ส.)
: เกี่ยวกับ "ทำเอง" หรือ "ผู้อื่นทำ" (อีกนัยหนึ่ง)(พ.ม.ส.)
: เกี่ยวกับ "อย่างใดอย่างหนึ่ง" หรือ "อย่างอื่น"(พ.ม.ส.)
: เกี่ยวกับ "เหมือนกัน" หรือ "ต่างกัน"(พ.ม.ส.)
ไม่ทรงบัญญัติอะไรเป็นอะไร โดยส่วนเดียว(พ.ม.ส.)
ทรงแสดงทั้งเอกังสิกธรรมและอเนกังสิกธรรม(พ.ม.ส.)
ทรงแสดงธรรมด้วยความระมัดระวังอย่างยิ่ง(พ.ม.)
ทรงแสดงธรรมเพื่อปล่อยวางธรรม มิใช่เพื่อยึดถือ(พ.ม.ส.)
อาการที่ทรงบัญญัติวินัย(พ.ม.)
เหตุผลที่ทำให้ทรงบัญญัติระบบวินัย(พ.ม.ส.)
หัวใจพระธรรมในคำ "บริภาส" ของพระองค์(พ.ม.)
ทรงแสดงหลักพระศาสนา ไม่มีวิญญาณที่เวียนว่ายตายเกิด(พ.ม.ส.)
ทรงแสดงหลักกรรมชนิดที่เป็น "พุทธศาสนาแท้"(พ.ม.ส.)
ทรงเป็นยาม เฝ้าตลิ่งให้ปวงสัตว์(พ.ม.อ.)
ทรงปล่อยปวงสัตว์ เหมือนการปล่อยฝูงเนื้อ(พ.ม.ส.)
ทรงจัดพระองค์เองในฐานะเป็นผู้ฉลาดในเรื่องหนทาง(พ.ม.ส.)
ทรงสอนเช่นเดียวกับพระพุทธเจ้าทั้งปวง
ทรงเป็นศาสดาที่ไม่มีใครท้วงติงได้(พ.ม.ส.)
ทรงสามารถในการสอน
ทรงแสดงสติปัฏฐานสี่ เพื่อขจัดทิฏฐินิสสัยทั้งสองประเภท(พ.ม.ส.)
ทรงสามารถสอนให้วิญญูชนรู้ได้เองเห็นได้เอง(พ.ม.ส.)
ทรงสามารถยิ่งในการสอน
ทรงประกาศพรหมจรรย์ ในลักษณะที่เทวดามนุษย์ประกาศตามได้(พ.ม.ส.)
ทรงประกาศพรหมจรรย์ น่าดื่มเหมือนมัณฑะ (พ.ม.ส.)
ทรงแสดงหนทางที่ผู้ปฏิบัติตามแล้ว จะเห็นได้เองว่าถูกต้อง(พ.ม.ส.)
ทรงแสดงวากขาตธรรม ที่มีผล ๖ อันดับ (มีสวรรค์เป็นอย่างต่ำสุด)(พ.ม.ส.)
สิ่งที่ตรัสรู้แล้ว แต่ไม่ทรงนำมาสอนมีมากกว่าที่ทรงสอนมากนัก(พ.ม.)
คำของพระองค์ตรงเป็นอันเดียวกันหมด(พ.ม.อ.)
ทรงมีการกล่าวที่ไม่ขัดแย้งกับบัณฑิตชนในโลก(พ.ม.ส.)
ทรงสอนเฉพาะแต่เรื่องทุกข์กับความดับสนิทของทุกข์(พ.ม.)
คำสอนที่ทรงสั่งสอนมากที่สุด(พ.ม.ส.)
ทรงมีหลักเกณฑ์การฝึกตามลำดับ(พ.ม.)
ทรงฝึกสาวกเป็นลำดับๆ
เรื่องที่ไม่ทรงพยากรณ์
ตรัสเหตุที่ไม่ทรงพยากรณ์อันตคาหิกทิฏฐิ สิบ
ตรัสเหตุที่ไม่ทรงพยากรณ์อันตถาหิกทิฏฐิ ส่วนที่เกี่ยวกับ "ตถาคตสี่"(พ.ม.ส.)
ตรัสเหตุที่ทำให้ไม่ทรงข้องแวะด้วยทิฏฐิ สิบ(พ.ม.ส.)
เรื่องที่ทรงพยากรณ์
ผู้ฟังพอใจคำพยากรณ์ของพระองค์
ไม่ได้ทรงพยากรณ์เพื่อให้ชอบใจผู้ฟัง
คำพยากรณ์นั้น ๆ ไม่ต้องทรงคิดไว้ก่อน(พ.ม.)
ทรงฆ่าผู้ที่ไม่รับการฝึก(พ.ม.)
เหตุที่สาวกบางคนไม่ได้บรรลุ
ทรงบัญญัติโลกุตตรธรรมสำหรับคนทั่วไป(พ.ม.)
ทรงให้ทุกคนมีพระองค์ อยู่ที่ธรรมที่กำลังมีอยู่ในใจของเขา(พ.ม.ส.)
สัตว์โลกจะรู้จักพระรัตนตรัยถึงที่สุด ก็ต่อเมื่อรู้ผลแห่งความสิ้นอาสวะของตนเองแล้วเท่านั้น (พ.ม.ส.)
ข.เกี่ยวกับคณะสาวกของพระองค์ ๓๐ เรื่อง คือ :-

ทรงมีหมู่คณะที่เลิศกว่าหมู่คณะใด(พ.ม.ส.)
ทรงมีคณะสงฆ์ซึ่งมีคุณธรรมสูงสุด(พ.ม.ส.)
ในแต่ละบริษัท มีอริยสาวกเต็มทุกขั้นตนตามที่ควรจะมี(พ.ม.ส.)
ทรงบริหารสงฆ์จำนวนร้อย
วิธีที่ทรงปฏิบัติต่อภิกษุ เกี่ยวกับสิกขา(พ.ม.ส.)
ทรงรับรองภิกษุแต่บางรูป ว่าเป็น คนของพระองค์(พ.ม.)
ทรงมีศิษย์ทั้งที่ดื้อและไม่ดื้อ
ทรงเรียกร้องให้กระทำกะพระองค์อย่างมิตร(พ.ม.ส.)
สาวกของพระองค์หลุดพ้นเพราะพิจารณาความเป็นอนัตตาในเบญจขันธ์(พ.ม.) + (พ.ม.ส.) ๓๒๘
สาวกของพระองค์เสียชีพไม่เสียศีล(พ.ม.)
ตรัสให้สาวกติดตามฟังแต่เรื่องเป็นไปเพื่อนิพพาน(พ.ม.ส.)
ทรงขอให้สาวกเป็นธรรมทายาท อย่าเป็นอามิสทายาท(พ.ม.)
ทรงชักชวนให้สาวกกระทำดั่งที่เคยทรงกระทำ(พ.ม.ส.)
ทรงขอร้องอย่าให้วิวาทกันเพราะธรรมที่ทรงแสดง(พ.ม.ส.)
ทรงขอร้องให้ทำความเพียร เพื่ออนุตตรวิมุตติ(พ.ม.ส.)
ทรงถือว่าภิกษุสาวกทุกวรรณะ เป็นสมณสากยปุตติยะโดยเสมอ(พ.ม.)
ทรงให้ถือว่า สาวกทั้งหลายเป็นบุตรของพระองค์(พ.ม.ส.)
ทรงแสดงสาวกตัวอย่างที่ประสบความสำเร็จในอินทรียภาวนา(พ.ม.ส.)
ทรงมีคณะสาวกซึ่งมีปาฏิหาริย์(พ.ม.)
ทรงเป็นพี่เลี้ยงให้แก่สาวกชั่วระยะจำเป็น(พ.ม.)
ทรงมีพระสารีบุตรเป็นผู้รองลำดับ
ทรงมีพระสารีบุตรเป็นผู้ประกาศธรรมจักรเสมอด้วยพระองค์(พ.ม.)
ทรงยกย่องพระสารีบุตรในฐานะธรรมโอรส(พ.ม.ส.)
มหาเถระผู้มีสมาบัติ และ อภิญญาเทียมพระองค์
พระองค์และสาวกมีการกล่าวหลักธรรมตรงกันเสมอ(พ.ม.ส.)
ส่วนที่สาวกเข้มงวดกว่าพระองค์
ทรงลดพระองค์ลงเสมอสาวก แม้ในหน้าที่ของพระพุทธเจ้า(พ.ม.ส.)
เหตุที่ทำให้มีผู้มาเป็นสาวกของพระองค์
เหตุที่ทำให้เกิดการแสดงปาติโมกข์(พ.ม.ส.)
ไม่ทรงทำอุโบสถ กับสาวกอีกต่อไป(พ.ม.)
ค. เกี่ยวกับความเป็นอยู่ส่วนพระองค์เอง ๓๑ เรื่อง คือ :-

ไม่ทรงติดทายก
ความรู้สึกของพระองค์เกี่ยวกับยศ(พ.ม.ส.)
ทรงเสพเสนาสนะป่าเรื่อยไป เพื่อให้เป็นตัวอย่าง(พ.ม.)
ทรงพอพระทัยความสามัคคีเป็นอย่างยิ่ง(พ.ม.)
ทรงมีความสุขยิ่งกว่ามหาราชา(พ.ม.)
ทรงผาสุกยิ่งนัก เมื่อทรงอยู่ในอนิมิตตเจโตสมาธิ(พ.ม.ส.)
วิหารธรรมที่ทรงอยู่มากตลอดพรรษา และทรงสรรเสริญมาก(พ.ม.ส.)
ทรงมีอาหารบริสุทธิ์ แม้เกี่ยวกับการฆ่าสัตว์(พ.ม.ส.)
ไม่ทรงฉันอาหารที่เกิดขึ้นเพราะคำขับ(พ.ม.ส.)
ทรงฉันอาหารวันหนึ่งหนเดียว
ทรงฉันอาหารหมดบาตร ก็มี
บางคราวทรงมีปีติเป็นภักษา เหมือนพวกอาภัสสรเทพ(พ.ม.ส.)
ทรงมีการประทมอย่างตถาคต
ทรงเป็นผู้เอ็นดูเกื้อกูลแก่สรรพสัตว์อย่างไม่เห็นแก่หน้า(พ.ม.ส.)
ทรงมีลักษณะเอ็นดูสรรพสัตว์ทั้งหลับและตื่น(พ.ม.ส.)
ทรงมีลักษณะสัมมาสัมพุทธะ ทั้งในขณะทำและไม่ทำหน้าที่(พ.ม.ส.)
ตัวอย่างเพียงส่วนน้อยของความสุข
ทรงนับพระองค์ว่าเป็นผู้หนึ่งในบรรดาผู้นอนเป็นสุข
ทรงดับเย็นเพราะไม่ทรงยึดมั่นการรู้สิ่งที่สมมติกันว่าเลิศ(พ.ม.ส.)
ที่ประทับนั่งนอนของพระองค์
วิหารธรรมที่ทรงอยู่มากที่สุด ตลอดพระชนม์(พ.ม.ส.)
ทรงอยู่ด้วยสุญญตาวิหาร แม้ในขณะแห่งธรรมกถา(พ.ม.ส.)
ทรงเป็นสมณะสุขุมาลในบรรดาสมณะทั้งหลาย(พ.ม.)
ทรงอยู่อย่างมีจิตที่ปราศจาก "หัวคันนา"(พ.ม.ส.)
ทรงทำนาที่มีอมตะเป็นผล
ทรงหลีกเร้นเป็นพิเศษบางคราว
ยังทรงมากอยู่ด้วยเขมวิตกและวิเวกวิตก(พ.ม.ส.)
การเสด็จสุทธาวาส(พ.ม.อ.)
การเสด็จไปทรมานพกพรหมผู้กระด้างด้วยลัทธิ(พ.ม.ส.)
ทรงมีฌานแน่วแน่ชั้นพิเศษ
กัลยาณมิตรของพระองค์เอง
ง. เกี่ยวกับลัทธิอื่น ๆ ๑๖ เรื่อง คือ :-

พอดวงอาทิตย์ขึ้น หิ่งห้อยก็อับแสง(พ.ม.)
ลัทธิของพระองค์ กับของผู้อื่น
ทรงแสดงอัปปมัญญาธรรมสี่ชนิดที่สูงกว่าเดียรถีย์อื่น(พ.ม.ส.)
ทรงบัญญัตินิททสบุคคลที่ไม่เนื่องด้วยพรรษาดั่งลัทธิอื่น(พ.ม.ส.)
ทรงบัญญัติความหมายของคำว่า "ญาณ" ไม่ตรงกับความหมายที่เดียรถีย์อื่นบัญญัติ(พ.ม.ส.)
ไม่ทรงบัญญัติยืนยันหลักลัทธิเกี่ยวกับ "อัตตา"(พ.ม.ส.)
ไม่ได้ทรงติการบำเพ็ญตบะไปเสียตะพึด
ไม่ทรงตำหนิการบูชายัญญ์ไปเสียทั้งหมด(พ.ม.)
ความบริสุทธิ์ใจของพระองค์ ในการปฏิบัติต่อลัทธิอื่น(พ.ม.ส.)
กฎบางกฎที่ทรงยกเว้นให้แก่บางคน
ทางแสดงหลักแห่งกรรมต่างจากพวกอื่น(พ.ม.ส.)
ทรง "เยาะ" ลัทธิที่ถือว่า สุขทุกข์เพราะกรรมเก่าอย่างเดียว(พ.ม.)
ทรง "เยาะ" ลัทธิที่ถือว่า สุขทุกข์เพราะการบันดาลของเจ้านาย(พ.ม.)
ทรง "เยาะ" ลัทธิที่ถือว่า สุขทุกข์ไม่มีอะไรเป็นเหตุปัจจัย(พ.ม.)
ทรงมีวิธีสกัดสแกงพวกที่ถือลัทธิว่ามีอัตตา(พ.ม.ส.)
ทรงระบุลัทธิมักขลิวาท ว่าเป็นลัทธิทำลายโลก(พ.ม.)
จ.เกี่ยวกับการที่มีผู้อื่นเข้าใจผิด ๒๓ เรื่อง คือ :-

ทรงทำผู้มุ่งร้ายให้แพ้ภัยตัวเอง
ไม่เคยทรงพรั่นพรึงในท่างกลางบริษัท
ทรงสมาคมได้อย่างสนิทสนม ทุกบริษัท(พ.ม.อ.)
ทรงท้าให้ใครปฏิเสธธรรมะที่พระองค์รับรอง(พ.ม.)
ทรงท้าว่า ธรรมที่ทรงแสดงไม่มีใครค้านได้(พ.ม.)
ทรงยืนยันว่ามีสมณะอยู่ในธรรมวินัยนี้เท่านั้น(พ.ม.)
ทรงยืนยันว่า เพราะพระองค์ปรากฏ โพชฌงค์จึงปรากฏ
ไม่ได้ทรงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อให้เขานับถือ(พ.ม.)
ทรงหวังให้ช่วยกันทำความมั่นคงแก่พรหมจรรย์(พ.ม.ส.)
พรหมจรรย์นี้มิใช่มีลาภเป็นอานิสงส์(พ.ม.)
ทรงบัญญัติพรหมจรรย์ในลักษณะที่บรรพชาจักไม่เป็นโมฆะ(พ.ม.ส.)
พรหมจรรย์นี้ของพระองค์ บริบูรณ์โดยอาการทั้งปวง(พ.ม.ส.)
ทรงแก้ข้อที่เขาหาว่า เกียดกันทาน(พ.ม.)
ทรงแก้ข้อที่เขาหาว่า เป็น "กาฝากสังคม"(พ.ม.ส.)
ทรงแก้ข้อที่เขาหาว่า ทรงหลง
ทรงแก้คำตู่ของพวกอื่นที่ตู่ว่า เขาก็สอนเหมือนที่พระองค์สอนพ.ม.ส.)
ทรงถูกตู่ว่าตรัสว่าในสุภวิโมกข์มีความรู้สึกว่าไม่งาม(พ.ม.ส.)
ทรงถูกตู่ว่าไม่บัญญัติสิ่งซึงที่แท้ได้ทรงบัญญัติแล้ว(พ.ม.ส.)
ทรงถูกตู่เรื่องฉันปลาฉันเนื้อ
ทรงรับว่าทรงทราบมายา แต่ไม่ทรงมีมายา(พ.ม.ส.)
แง่ที่เขากล่าวหาพระองค์อย่างผิด ๆ
ทรงหยามมารว่าไม่มีวันรู้จักทางของพระองค์(พ.ม.ส.)
มนุษย์บุถุชน รู้จักพระองค์น้อยเกินไป
ฉ. เกี่ยวกับเหตุการณ์พิเศษบางเรื่อง ๒๒ เรื่อง คือ :-

การทรงแสดง ความพ้นเพราะสิ้นตัณหา
การทรงแสดงเรื่องที่เป็นไปได้ยากเกี่ยวกับพระองค์เอง(พ.ม.ส.)
การเกิดของพระองค์ ไม่กระทบกระเทือนกฎธรรมชาติ:
การทรงแสดงไตรลักษณ์(พ.ม.)
การทรงแสดงปฏิจจสมุปบาท(พ.ม.ส.)
ทรงแนะการบูชายัญในภายใน(พ.ม.ส.)
การทรงแสดงเหตุของความเจริญ
ทรงแสดงที่พึ่งไว้ สำหรับเมื่อทรงล่วงลับไปแล้ว(พ.ม.ส.)
การตรัสเรื่อง "ทุกข์นี้ใครทำให้"
การสนทนากับพระอานนท์ เรื่องกัลยาณมิตร(พ.ม.ส.)
การสนทนากับ "พระเหม็นคาว"(พ.ม.)
การตอบคำถามของทัณฑปาณิสักกะ(พ.ม.)
การสนทนากับนิครนถ์: บาปกรรมเก่าไม่อาจสิ้นด้วยทุกรกิริยา
: เวทนาทั้งหลายมิใช่ผลแห่งกรรมในกาลก่อน(พ.ม.ส.)
: การให้ผลของกรรมไม่อาจเปลี่ยนได้ด้วยตบะของนิครนถ์(พ.ม.ส.)
การสนทนากะเทวดา เรื่องวิมุตติของภิกษุณี(พ.ม.อ.)
การสนทนากะเทวดา เรื่องอปริหานิยธรรม(พ.ม.ส.)
การสนทนาเรื่อง ที่สุดโลก
การสนทนาเรื่อง ลัทธิซึ่งสมมติกันว่าเลิศ(พ.ม.ส.)
การตรัสเรื่อง "มหาภูต" ไม่หยั่งลงในที่ไหน(พ.ม.อ.)
การมาเฝ้าของตายนเทพบุตร
การมาเฝ้าของอนาถปิณฑิกเทพบุตร
การมาเฝ้าของจาตุมมหาราช
การข่มลิจฉวีบุตร ผู้มัวเมาในปาฏิหาริย์
การสนทนากับปริพพาชก ชื่อมัณฑิยะและชาลิยะ(พ.ม.ส.)
การสนทนาเรื่อง เครื่องสนุกของพระอริยเจ้า(พ.ม.ส.)
ผนวกพุทธประวัติฯ ภาค ๔

เรื่องเบ็ดเตล็ดตามเสียงของคนนอก (๒๔ เรื่อง)

คำชี้แจงสำหรับเรื่องผนวกแห่งภาค ๔
เสียงกระฉ่อนทั่ว ๆ ไป: ทรงเป็นสัมมาสัมพุทธะประกาศพรหมจรรย์บริสุทธิ์
เสียงของผู้สรรเสริญธรรมเทศนา : ทรงมีธรรมเทศนาเป็นแสงสว่าง (พ.ม.)
เสียงปริพพาชก วัจฉโคตร : ทรงแสดงหลักสำคัญตรงกับสาวกอย่างน่าอัศจรรย์ (พ.ม.ส.)
: ทรงมีคำสอนที่เป็นแก่นแท้ล้วน ๆ (พ.ม.)
: ทรงประดิษฐานศาสนพรมจรรย์ได้บริบูรณ์(พ.ม.ส.)
เสียงคณกะโมคคัลลานพราหมณ์ : "โอวาทของพระโคดมเป็นยอด" (พ.ม.)
เสียงสัจจกะนิครนถบุตร : "เจอะพระโคดมแล้ว ไม่มีรอดไปได้" (พ.ม.)
เสียงของเจ้าลิจฉวี ทุมมุขะ : ทรงหักล้างปรปักษ์เหมือนเด็กรุมกันต่อยก้ามปู(พ.ม.)
เสียงปริพพาชก คณะแม่น้ำสัปปินี : ไม่มีช่องทางที่ใครจะขันสู้พระผู้มีพระภาค (พ.ม.)
เสียงสังคมวิญญูชน : ทรงปฏิบัติได้เลิศกว่าพวกอื่น (ในหลักธรรมอย่างเดียวกัน) (พ.ม.ส.)
: สาวกของพระองค์ปฏิบัติได้เลิศกว่าพวกอื่น (ในหลักธรรมอย่างเดียวกัน) (พ.ม.ส.)
เสียงวัชชิยมาหิตคหบดี : ทรงเป็นวิภัชชวาที มิใช่เอกํสวาท ี(พ.ม.ส.)
เสียงโปฏฐปาทปริพพาชก : ทรงบัญญัติหลักเรื่อง "ตถา" (พ.ม.ส.)
เสียงปิโลติกะ ปริพพาชก : ทรงมีคุณธรรมลึกจนผู้อื่นได้แต่เพียงอนุมานเอา (พ.ม.)
เสียงปิงคิยานีพราหมณ์ : ทรงอยู่เหนือคำสรรเสริญของคนธรรมดา (พ.ม.ส.)
เสียงวัสสการพราหมณ์ : ทรงมีคุณธรรมสูง ๔ ประการ (พ.ม.)
เสียงอัตถากามเทพ : ทรงทราบมุทธาและมุทธาธิบาต (พ.ม.ส.)
เสียงหัตถกเทวบุตร : ทรงอัดแออยู่ด้วยบริษัทนานาชนิด (พ.ม.)
เสียงเทวดาบางตน : ใครดูหมิ่นความอดทนของพระโคดมก็เท่ากับคนไม่มีตา (พ.ม.ส.)
เสียงท้าวสักกะจอมเทพ : ทรงพระคุณที่ชอบใจเทวดา ๘ ประการ (พ.ม.ส.)
เสียงโลหิจจพราหมณ์ : ทรงมีอนามัยเป็นอย่างดี
: ทรงดึงผมช่วยคนจะตกเหวไว้ได้ (พ.ม.ส.)
เสียงโสณทัณฑพราหมณ์ : ทรงมีคุณสมบัติสูงทุกประการ
เสียงอุตตรมาณพ: ทรงประกอบด้วยมหาปุริสลักขณะ ๓๒
: ทรงมีลีลาศสง่า งดงาม
: ทรงมีมรรยาทเป็นสง่า น่าเลื่อมใส
: ไม่ทรงตื่นเต้นพระทัยในบ้าน
: ทรงฉันภัตตาหารในหมู่บ้าน เรียบร้อยนัก
: ไม่ทรงติดในรสอาหาร
: ทรงมีวัตรในบาตร
: การเสด็จกลับจากฉันในหมู่บ้าน
: ทรงนุ่งห่มกระทัดรัด
: ทรงมุ่งแต่ความเกื้อกูลสัตว์
: ทรงแสดงธรรมด้วยพระสำเนียงมีองค์ ๘
เสียงอุบาลีคหบดีบุรพนิครนถ์ : ทรงประกอบด้วยพระพุทธคุณ ๑๐๐ ประการ (พ.ม.ส.)
เสียงพระเจ้าปเสนทิโกศล : ทรงมีคณะสงฆ์ที่ประพฤติพรหมจรรย์ตลอดชีวิต
: ทรงมีคณะสงฆ์ที่พร้อมเพรียง
: ทรงมีคณะสงฆ์ที่ชุ่มชื่นผ่องใส
: ทรงมีสังฆบริษัทที่เงียบเสียง
: ทรงชนะคนมุ่งร้ายที่เข้าเฝ้า
: ทรงสามารถปราบโจรที่มหากษัตริย์ก็ปราบไม่ได้ (พ.ม.ส.)
: ทรงชนะน้ำใจคนโดยทางธรรม
: ทรงเสมอกับพระเจ้าโกศลโดยวัย
เสียงคณกะโมคคัลลานพราหมณ์ : ทรงคบแลไม่ทรงคบบุคคลเช่นไร (พ.ม.)
เสียงแห่งมาร : ทรงตัดรอนอำนาจมารเหมือนเด็กริดรอนก้าม (พ.ม.ส.)
: ทรงเป็นก้อนหินให้กาโง่สำคัญว่ามันข้น (พ.ม.ส.)
: ไม่มีใครนำพระองค์ไปได้ด้วยราคะ
: ศัตรูประสบผลเหมือนเอาศีรษะชนภูเขา (พ.ม.ส.)

ภาค ๕

การปรินิพพาน (๑๐ เรื่อง)

แปดสิบปียังไม่ฟั่นเฟือน
ทรงมีความชราทางกายภาพเหมือนคนทั่วไป (พ.ม.ส.)
ทรงทำหน้าที่พระพุทธเจ้าบริบูรณ์แล้ว
เรื่องเบ็ดเตล็ดก่อนหน้าปรินิพพาน :
การตรัสภิกษุอปริหานิยธรรม
เสด็จสวนอัมพลัฏฐิกา
เสด็จเมืองนาลันทา
เสด็จบ้านปาฏลิคาม
เสด็จบ้านโกฏิคาม
เสด็จหมู่บ้านนาทิกะ
เสด็จเมืองเวสาลี
เสด็จบ้านเวฬุวคาม
เสด็จทิวาวิหาร ที่ปาวาลเจดีย์
ทรงปลงอายุสังขาร
แผ่นดินไหวเนื่องด้วยการปลงอายุสังขาร (พ.ม.ส.)
เสด็จป่ามหาวัน
เสด็จบ้านภัณฑคาม
เสด็จบ้านหัตถิคาม โดยลำดับ ถึงโภคนคร
เสด็จเมืองปาวา
เสด็จเมืองกุสินารา
การปรินิพพาน หรือ การประทับสีหเสยยาครั้งสุดท้าย :
แวะป่าสาละ ให้จัดที่ปรินิพพาน
ตรัสเรื่องการบูชาอย่างแท้จริง
เทวดามาเนืองแน่น จึงทรงขับพระอุปวาณะ
ตรัสเรื่องการจัดทำเกี่ยวกับพระสรีระ
ตรัสเรื่องเมืองกุสาวดี
ให้ไปบอกมัลลกษัตริย์
โปรดสุภัททปริพพาชก
ตรัสเรื่องธรรมวินัยนี้ ไม่ว่างจากศาสดา
ตรัสวิธีการร้องเรียก ทักทาย
ให้เลิกถอนสิกขาบทเล็กน้อย
ให้ลงพรหมทัณฑ์ฉันนภิกษุ
ตรัสถามความเคลือบแคลง
ปัจฉิมวาจา
แผ่นดินไหวเนื่องด้วยการปรินิพพาน
เราเห็นพระองค์ได้ ชั่วเวลาที่ยังปรากฏพระกาย
การปรินิพพานของพระองค์ คือความทุกข์ร้อนของมหาชน (พ.ม.)
สังเวชนียสถาน ภายหลังพุทธปรินิพพาน (พ.ม.)

ภาค ๖

การบำเพ็ญบารมีในอดีตชาติ (๒๐ เรื่อง)

คำชี้แจงเกี่ยวกับภาค ๖
ต้องท่องเที่ยวมาแล้ว เพราะไม่รู้อริยสัจจ์
ตลอดวัฏฏสงสาร ไม่เคยทรงบังเกิดในสุทธาวาส
ในวัฏฏสงสาร เคยทรงบูชายัญญ์ และบำเรอไฟ มาแล้วเป็นอย่างมาก
ทิฏฐานุคติแห่งความดี ที่ทรงสั่งสมไว้แต่ภพก่อน ๆ
เคยทรงบังเกิดเป็นมหาพรหม, สักกะ, ฯลฯ (พ.ม.อ.)
ครั้งมีพระชาติเป็น โชติปาลมาณพ
ครั้งมีพระชาติเป็น พระเจ้ามหาสุทัศน์
ครั้งมีพระชาติเป็น ปุโรหิต สอนการบูชายัญญ์
ครั้งมีพระชาติเป็น พระเจ้ามฆเทวราช
ครั้งมีพระชาติเป็น มหาโควินทพราหมณ์
ครั้งมีพระชาติเป็น รถการ ช่างทำรถ (พ.ม.)
ครั้งมีพระชาติเป็น อกิตติดาบส
ครั้งมีพระชาติเป็น พระจันทกุมาร
ครั้งมีพระชาติเป็น สังขพราหมณ์
ครั้งมีพระชาติเป็น เวลามพราหมณ์ (พ.ม.)
ครั้งมีพระชาติเป็น พระเวสสันดร
ครั้งมีพระชาติเป็น มาตังคชฎิล
ครั้งมีพระชาติเป็น จูฬโพธิ
ครั้งมีพระชาติเป็น เจ้าชายยุธัญชยะ
ที่สุดแห่งการท่องเที่ยวของพระองค์


   


กลุ่มพุทธทาสศึกษา ตู้ ปณ.๓๘ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ ๕๐๑๑๐
e-mail : info@buddhadasa.org


"พุทธประวัติจากพระโอษฐ์" ฉบับออนไลน์

http://www.buddhadasa.org/html/life-work/dhammakot/01-buddha/toc-full.html


« Last Edit: 26 December 2012, 23:15:24 by SATORI » Logged
Pages: [1] Go Up Print 
« previous next »
 

SMF 2.0.4 | SMF © 2013, Simple Machines | Theme by nesianstyles | Buttons by Andrea
Page created in 0.118 seconds with 23 queries.