Smile Siam มาร่วมกันคืน "สยามเมืองยิ้ม" กลับสู่บ้านเรากันนะครับ ...
User Info
Welcome, Guest. Please login or register.
04 May 2024, 14:00:03

Login with username, password and session length
Search:     Advanced search
News
ท่านสมาชิกสามารถเปลี่ยนรูปแบบ (Theme) ได้อีกหลายแบบ
เชิญทดลองโดยคลิกที่ลิงค์ข้างล่าง ได้เลยครับ

http://www.smilesiam.net/index.php/topic,3170.msg4713.html
Forum Stats
25,631 Posts in 12,451 Topics by 70 Members
Latest Member: KAN
Home Help Search Calendar Login Register
Smile Siam มาร่วมกันคืน "สยามเมืองยิ้ม" กลับสู่บ้านเรากันนะครับ ...  |  หมวดหมู่ทั่วไป  |  สาระน่ารู้  |  เรื่องที่ควรรู้เท่าทันระดับโลก  |  [3] กาแล็กซี่ทางช้างเผือก (The Milky Way Galaxy)
0 Members and 1 Guest are viewing this topic. « previous next »
Pages: [1] Go Down Print
Author Topic: [3] กาแล็กซี่ทางช้างเผือก (The Milky Way Galaxy)  (Read 33 times)
ppsan
Administrator
สยามราษฎร์
*****
Offline Offline

Posts: 8,484


View Profile
« on: 25 January 2024, 13:39:10 »

[3] กาแล็กซี่ทางช้างเผือก (The Milky Way Galaxy)


ทางช้างเผือก (Milky Way) คือดาราจักรที่เป็นที่ตั้งของระบบสุริยะและโลกของเรา

เส้นผ่าศูนย์กลางของดาราจักรทางช้างเผือก มีระยะทางระหว่าง 150,000 ถึง 200,000 ปีแสง และมีจำนวนดาวฤกษ์ประมาณ 1 แสนล้าน ถึง 4 แสนล้านดวง ส่วนที่สว่างที่สุดของทางช้างเผือกอยู่บริเวณกลุ่มดาว คนยิงธนู ซึ่งเป็นทิศทางไปสู่ใจกลางดาราจักร  ณ จุดศุนย์กลางของดาราจักรทางช้างเผือก เป็นแหล่งคลื่นวิทยุที่มีความเข้มข้นสูง

ดาวฤกษ์ที่เห็นบนท้องฟ้า เป็นดาวที่อยู่ในกาแล็กซี่ของเรา หรือกาแล็กซี่ทางช้างเผือก (The Milky Way Galaxy) มีลักษณะเป็นฝ้าขาวคล้ายเมฆบางๆ  อยู่โดยรอบท้องฟ้า (คือ ดวงดาวประมาณแสนดวง)  กาแล็กซี่ทางช้างเผือก เป็นกาแล็กซี่แบบกังหัน เนื่องจากมองด้านบนและด้านล่างจะเห็นว่ามีโครงสร้างเป็นรูปจาน หรือจักร หรือขดหอย (Spiral Structure) โดยจุดศูนย์กลางจะเป็นรูปวงรี (Ellipsoid) มีความยาวถึง 100,000 ปีแสง

ดวงอาทิตย์ของเราอยู่ทางแขนด้านขวา ห่างใจกลางของกาแล็กซี่ประมาณ 30,000 ปีแสง

.

The Milky Way Galaxy Chocolate.
The Galactic Center as seen from Earth's night sky.


.

A view of the Milky Way toward the constellation Sagittarius.


.

The Milky Way arching at a high inclination across the night sky.


.

The structure of the Milky Way is thought to be similar to this galaxy (UGC 12158 imaged by Hubble)


.

A size comparison of the six largest galaxies of the Local Group, together with the Milky Way.


.

360-degree panorama view of the Milky Way.


.

Spitzer reveals what cannot be seen in visible light: cooler stars (blue), heated dust (reddish hue), and Sgr A* as bright white spot in the middle.


.

Artist's conception of the spiral structure of the Milky Way with two major stellar arms and a bar.


.

The long filamentary molecular cloud dubbed "Nessie" probably forms a dense "spine" of the Scutum–Centarus Arm.


.

Clusters detected by WISE used to trace the Milky Way's spiral arms.


.



Logged
Pages: [1] Go Up Print 
« previous next »
 

SMF 2.0.4 | SMF © 2013, Simple Machines | Theme by nesianstyles | Buttons by Andrea
Page created in 0.051 seconds with 18 queries.